วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555

ขั้นตอน ส3-R3 (Result)

Pattern กล่องแบบสำเร็จ และ โลโก้ผลิตภัณฑ์
 
 
 
 
 
 
 อันแรกเป็นที่รัดบรรจุภัณฑ์ได้1อัน






อันที่สองเป็นแถบรัดบรรจุภัณฑ์กล่อง4อัน
 
 
 
 
 
อันที่สามเป็นแถบวงกลมติดบนบรรจุภัณฑ์มี4สี
 
 
 
 
ได้ออกแบบไว้3แบบ
 
 
 
 
 
 
 
บรรจุภัณฑ์ที่สมบรูณ์
 
 
 
 
 
 
 
 

ขั้นตอน ส2-R2 (Resume)



 
การออกแบบขวดบรรจุภัณฑ์น่้ำตาลมะพร้าวน่้ำหอม
 

การขึ้นรูปขวดบรรจุภัณฑ์ แบบ2มิติ
 


แบบโลโก้ น่้ำตาลมะพร้าวน่้ำหอม
 

ขั้นตอน ส1-R1 (Research)

การวิเคราะข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง(Product visual analysis)
ชื่อผลิตภัณฑ์ น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม 100% ตรา ไผ่ริมแคว
 
 
ภาพแสดงโครงสร้างประกอบทางกราฟฟิกของผลิตภัณฑ์สินค้าน้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม 100% ตรา ไผ่ริมแคว

ผลการวิเคราะห์
ก.โครงสร้างของ ตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน

หมายเลข1.คือกล่องบรรจุภัณฑ์ แบบพลาสติก ทรงกระบอกมีฝาปิด
1.1 กล่องพลาสติกชนิด หรือพลาสติกชนิด โพลิโอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ
1.2 รูปแบบกล่องพลาสติกเป็นทรงกระบอก 4 เหลี่ยม
1.3 ขนาด มิติ ความกว้าง ยาว หนา
1.4 กล้องมีความแข็งแรง
1.5 กล่องนี้กันอากาศเข้าออกได้
1.6 กล่องพลาสติก ราคา 4-5 บาท


หมายเลข2. คือ แคปซีล  ปิดกล่องพลาสติก
2.1 เป็นแคปซีลชนิดหดตัว
2.2 รูปแบบซีล เป็นซีลที่ใส
2.3 ขนาดของซีล 1 นิ้ว
2.4 แคปซิล 100/แพ็ก ราคา190 บาท
2.5 ซีลนี้เป็นซีลที่ไม่มีรอยแถบดึง ปิด-เปิด
2.6 มีลักษณะทนทาน


หมายเลข3. คือ สีของสติ๊กเกอร์แบรนด์
3.1 เป็นสีเขียว-ขอบขาว
3.2 รูปแบบสติ๊กเกอร์เป็นแบบวงรี
3.3 สติ๊กเกอร์วงรีขนาด 4x6 เซนติเมตร
3.4 ทางด้านขวา มีรูปต้นมะพร้าว
3.5 ทางด้านซ้ายมีรูปมะพร้าว
3.6 แบบสติ๊กเกอร์มีการจักเรียงดูึดอัดเกินไป


หมายเลข4. คือ รูปต้นมะพร้าว
4.1 เป็นรูปสีเขียว-ตัดด้วยสีขาว
4.2 เป็นต้นมะพร้าวน้ำหอม
4.3 อยู่ด้านซ้ายมือ
4.4 มองดูไม่ค่อยชัดเจน
4.5 ไม่ค่อยมีลักษณะเด่น
4.6 มองดูเรียบง่าย


หมายเลข5. คือ ฟอนต์น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม
5.1 ตัวอักษรสีขาว
5.2 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา
5.3 ใช้ตัวอักษรขนาดที่ไม่ต้องมองหายาก
5.4 มองดูชัดเจน
5.5 บ่งบอกว่าเป็นน้ำตาลมะพร้าว
5.6 มีการจัดเรียงเป็นแบบโค้ง


หมายเลข6. คือ ฟอนต์แหล่งที่อยู่บรรจุภัณฑ์
6.1 ตัวอักษรสีขาว
6.2 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา ไม่ได้บ่งบอกถึงตัวสินค้า
6.3 ตัวอักษรมีขนาดเล็ก
6.4 มองเห็นไม่ค่อยชัดเจน
6.5 มีการจัดเรียงเป็นแบบโค้ง
6.6 วิสาหกิจชุมชน ต.ทุ่งทอง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี


หมายเลข7. คือ ฟอนต์คุณแดง-เจ๊หนู
7.1 ตัวอักษรสีขาว
7.2 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา
7.3 บ่งบอกชื่อคนที่จะโทไปติดต่อ
7.4 ใช้ตัวอักษรขนาดที่ไม่ต้องมองหายาก
7.5 มีการใช้เส้นเล่นลายข้างใต้
7.6 มีการใช้เส้นเน้นข้างใต้


หมายเลข8. คือ รูปมะพร้าว
8.1 เป็นรูปสีเขียว-ตัดด้วยสีขาว
8.2 เป็นมะพร้าวน้ำหอม
8.3 อยู่ด้านขวามือ
8.4 มองดูชัดเจน
8.5 มีลักษณะเด่น
8.6 มองดูเรียบง่าย


หมายเลข9. คือ เลข 100%
9.1 ตัวอักษรสีขาว
9.2 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา
9.3 บ่งบอกว่าทำมาจากมะพร้าวน้ำหอมแท้แน่นอน
9.4 มีลักษณะเด่น
9.5 เพื่อให้เป็นจุดเด่นหรือจุดสนใจ
9.6 ใช้เลขอารบิก


หมายเลข10. คือ ฟอนต์ไผ่ริมแคว
10.1 ตัวอักษรสีขาว
10.2 เป็นชื่อของบริษัทผู้ผลิตน้ำตาลมะพร้าว
10.3 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา ไม่ได้บ่งบอกถึงตัวสินค้า
10.4 อยู่ตรงกลางของสติ๊กเกอร์เพื่อให้มองเห็นง่าย
10.5 ใช้ชื่อไผ่ริมแควที่เป็นชื่อบริษัทเป็นชื่อยี่ห้อ
10.6 ใช้ฟ้อนขนาดใหญ่ เพื่อให้เป็นจุดเด่นของสติ๊กเกอร์


หมายเลข11. คือ ฟอน์ เจ้าแรกในกาญจนบุรีและเบอร์โทรศัพท์
11.1 ตัวอักษรสีขาว
11.2 เป็นแค่ฟ้อนที่ออกแบบมาธรรมดา
11.3 อยู่ใต้ชื่อยี่ห้อ เพื่อเสริมให้ตัวยี่ห้อดูดียิ่งขึ้น
11.4 เป็นเหมือนการสื่อว่า เป็นเจ้าที่เริ่มต้นบุกเบิกวงการ น้ำตาลมะพร้า
11.5 ใส่เบอร์โทรศัพท์เพื่อการติดต่อที่สะดวกขึ้น
11.6 คำว่าเจ้าแรกเป็นเหมือนการสื่อถึงความอร่อยแบบดั้งเดิม


หมายเลข12. คือ เครื่องหมาย มผช เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
12.1 เป็นเครื่องหมายของสำนักงานมาตราฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
12.2 วันที่ออกคือ 29 พค 2552
12.3 มีระยะเวลาในการรับรอง 3 ปี
12.4 เลขที่ มผช ของน้ำตาลมะพร้าวคือ 5/2546
12.5 ตรา มผช ออกให้โดยกระทรวงอุตสาหกรรม
 


what น้ำตาลพร้าวน้ำหอม


why ประสบ ปัญหาเรื่องตลาดผลไม้ล้นตลาดทำให้ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควร กลุ่มลูกค้ากลับกดราคาต่ำมากจึงมีความคิดว่ามะพร้าวสามารถผลิตน้ำตาลปิ๊บได้ เหมือนกับต้นตาลโตนด


where เลขที่ 55 หมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ 71110 โทรศัพท์ 0-8185-6530


when เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2550


how
1.เริ่มจากการเลือกงวงมะพร้าวที่อยู่ต้นมะพร้าวต้องเป็นงวงมะพร้าวที่สมบูรณ์ที่สุด เพื่อที่จะนำมาทำน้ำตาลใสก่อนอันดับแรก
2.ทำการปาดปลายของงวงมะพร้าวที่เราเลือกแล้ว
3.ทำการโน้มงวงมะพร้าวโดยการใช้เชือกมัดเพื่อที่จะทำให้งวงมะพร้าวสามารถผลิตน้ำตาลใสไหลออกตามท่อของงวงที่เราโน้มได้สะดวก
4.จาก นั้นก็ทำการปาดงวงมะพร้าวโดดใช้มีดที่มีความคมและไม่เป็นสนิมเพื่อให้ได้ น้ำตาลใส ขณะที่ทำการปาดงวงมะพร้าวถ้ากรณีมีลูกมะพร้าวเล็กๆติดที่งวงก็ต้องทำลายทิ้ง เพื่อไม่ให้ดูดน้ำตาลใสไปเลี้ยงลูกมะพร้าวได้งวงมะพร้าวที่สมบูรณ์และพร้อม ที่จะผลิตน้ำตาลใสได้เต็มที่
5.ทำ การมัดหรือตกแตงงวงมะพร้าวที่เราปาดในขั้นตอนที่ 4 เพื่อให้ดูเรียบร้อย ในขณะเดียวกันต้องสังเกตด้วยวาพอเราปาดงวงไปแล้วนั้นน้ำตาลใสหยดจากงวง มะพร้าวหรือไม่ ทำการตกแตงงวงมะพร้าวที่เราโน้มและปาดงวงเพื่อในดูสวยงามและให้ดูเรียบร้อย
6.นำกระบอกที่สะอาดๆ ที่เราเตรียมไว้มารองรับน้ำตาลใสที่หยดออกมาจากงวงที่เราปาดในขั้นตอนที่ 5
7.พอได้น้ำตาลใสเราก็นำน้ำตาลใสมากรองเศษขยะออกโดยใช้ผ่าขาวบางกรอง จากนั้นก็นำน้ำตาลใสที่เรากรองแล้วมาเคี่ยวไฟที่มีอุณหภูมิที่
ร้อนจัดในขณะก้อนเคี่ยวต้องเติมสวนผสมน้ำตาลทรายลงไปด้วย เคี่ยวที่อุณหภูมิที่ร้อนจัด
8.เมื่อเคี่ยวจนได้ที่แล้วจากนั้นก็นำน้ำตาลที่ได้จากการเคี่ยวนำมากรองเศษผงอีกรอบแล้วนำเข้าเครื่องปั่นจนกระทั้งเป็นเนี้อเดียวกันแล้ว
9.ขั้นตอนตอไปก็นำน้ำตาลที่ปั่นแล้วมาหยอดใสภาชนะตามที่เราต้องการเช่น ถ้วย หรือ ภาชนะอี่นๆ
10.ขั้นตอนสุดท้ายปล่อยให้น้ำตาลเย็นแล้วทำการใส่ถุงหรือ
บรรจุภัณฑ์ที่สวยงามแล้วนำออกจำหน่ายหรือรอออเดอร์จากลูกค้าต่อไป


how much ปิ๊บ ปริมาณ 29 กิโลกรัม ราคา 800 บาท , พลาสติกใส 800 กรัม ราคาขายส่ง 35 บาท ราคาขายปลีก 45 บาท , พลาสติกใส 1000 กรัม ราคาขายส่ง 30 บาท ราคาขายปลีก 38 บาท

ความต้องการของผู้ประกอบการ
 
ผู้ประกอบการได้บอกปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของไฝ่ริมแควว่ามันธรรมดา
แล้วเคยมีลูกค้าเคยถามว่าน้ำตาลที่ได้ถุบแล้วบรรจุใส่ถุงพลาสติกว่ามันเป็นเศษของน้ำตาลรึเปล่า
ความต้องการของผู็ประกอบการเขาต้องการให้สินค้าของเขานั้นมีรูปลักษณ์ที่สวยงาม
มีชาวญี่ปุ่นเคยมาติดต่อให้เขาส่งออกต่างประเทศและส่วนหนึ่งต้องการให้สินค้าของไฝ่ริมแควนั้น
ขึ้นไปขายห้างสรรพสินค้าอยากได้สินค้าที่ตอนรับสู้สมาคมอาเซียนเรื่องแบรนด์นั้นขึ้นอยู่กับนักออกแบบ
ว่าจะเปลื่ยนหรือไม่ก็ได้เรื่องของราคาต้นทุนนั้นเขาบอกว่าไม่ได้กังวล(แต่ถูกหน่อยก็ดี)
ถ้าสินค้าที่ออกแบบสวยเขาก็พร้อมลงทุน

รายงานสรุปผลการเรียนวิชาออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์